วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556


                                                              จำนวนนับ
                จำนวนนับ คือ  จำนวนที่นับสิ่งของต่างๆ  ซึ่งแบ่งออกเป็น  
2  ประเภทคือ จำนวนคู่  คือ  จำนวนที่หารด้วย  2  ลงตัว และ จำนวนคี่  คือ  จำนวนที่หารด้วย  2  ไม่ลงตัว  เช่น  1,  3,  5,.....
                                                     สมบัติของจำนวนนับ
ตัวประกอบเฉพาะ
  คือ ตัวประกอบของจำนวนนับที่เป็นจำนวนเฉพา
ตัวประกอ  
คือ  จำนวนนับใดๆที่หารจำนวนนับนั้นลงตัวเช่น ตัวประกอบของ  10
                         คือ 1 , 2 , 5และ10                                                                                                                                      
 
ตัวหารร่วมมา   คือ จำนวนนับใดๆที่เป็นตัวประกอบร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจำนวนนับนั้น  
                       
เขียนย่อคือ ห.ร.ม.        เช่น    ตัวประกอบร่ามมากสุดของ  16 และ 24 คือ 8
จำนวนเฉพาะ   คือ จำนวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัวเท่านั้นได้แก่ 1
                       และตัวมันเอง
  เช่น จำนวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 1 ถึง 10 คือ 2 , 3 , 5 , 7
การแยกตัวประกอบ   คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจำนวนนับนั้นในรูปการคูณของตัวประกอบ                                                เฉพาะ เช่น ตัวประกอบของ 12 คือ 2 * 2 * 3
ตัวคูณร่วมน้อ    คือ จำนวนนับใดๆที่เป็นตัวประกอบร่วมที่มีค่าน้อยที่สุดของจำนวนนับ
                    เขียนย่อคือ ค.ร.น.
     เช่น ตัวคูณร่วมน้อยของ 4 และ 6 คือ 12
ตัวประกอบของจำนวนนับ
                จำนวนที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจำวันอยู่เสมอๆได้แก่ 1,2,3,4,……ไม่มีที่สิ้นสุด  เรียกจำนวนเหล่านี้ว่า  จำนวนนับ  หรือ  จำนวนธรรมชาติ หรือ จำนวนเต็มบวก
จงพิจารณาตารางต่อไปนี้
จำนวนนับที่กำหนดให้
จำนวนนับที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้
6
1,2,3,6
12
1,2,3,4,6,12
24
1,2,3,4,6,8,12,24
1,2,3,6
1,2,3,4,6,12
1,2,3,4,6,8,12,24
เป็นตัวประกอบของ 6 เพราะหาร 6 ได้ลงตัว
เป็นตัวประกอบของ 12 เพราะหาร 12 ได้ลงตัว
เป็นตัวประกอบของ 24 เพราะหาร 24 ได้ลงตัว
ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือจำนับที่หารจำนวนนับได้ลงตัว

จำนวนเฉพาะ (Prime  number)
 จงพิจารณาตารางต่อไปนี้
จำนวนนับ
ตัวประกอบ
จำนวนของตัวประกอบ
1
1
1
2
1,2
2
3


4


5
1,5
2
6
1,2,3,6
4
7


8


9
1,3,9
3
10
1,2,5,10
4

สรุป
จำนวนนับที่มีค่ามากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง  เรียกว่า  จำนวนเฉพาะ

ตัวประกอบเฉพาะ  (
Prime  factor)
จงพิจารณาตารางต่อไปนี้
จำนวนนับ
ตัวประกอบ
ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ
8
1,2,4,8
2
10
1,2,5,10
2,5
20
1,2,4,5,10,20
2,5
26
1,2,13,26
2,13
38
1,2,19,38
2,19
เรียกตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะว่า  ตัวประกอบเฉพาะ



การแยกตัวประกอบ
จงพิจารณาตารางต่อไปนี้

จำนวนนับ
ประโยคที่แสดงการเขียนจำนวนนับในรูปการคูณ
แบบที่ 1
แบบที่ 2
8
8 = 1 x 8
8 = 2 x 4
8 = 2 x 2 x 2
12
12 = 1 x 12
12 = 2 x 6
12 = 3 x 4

12 = 2 x 2 x 3

20
20 = 1 x 20
20 = 2 x 10

20 = 4 x 5

20 = 2 x 2 x 5

จากตารางข้างต้น  จะเห็นว่าจำนวนนับที่กำหนดให้แต่ละจำนวน  สามารถเขียนในรูปการคูณได้หลวกหลาย
พิจารณาแบบที่
2 จะเห็นว่า
                        
8 = 2 x 2 x 2  ตัวคูณ คือ 2  แต่ละจำนวนเป็นตัวประกอบ
                        12 = 2 x 2 x 3  ตัวคูณ คือ 2 และ 3  แต่ละจำนวนเป็นตัวประกอบ
เช่นเดียวกัน  
20 = 2 x 2 x 5 ตัวคูณ คือ 2 และ 5  แต่ละจำนวนเป็นตัวประกอบ
เราเรียกประโยค  
8 = 2 x 2 x 2 ว่าเป็นการแยกตัวประกอบของ 8
                       12 = 2 x 2 x 3 ว่าเป็นการแยกตัวประกอบของ 12
                       20 = 2 x 2 x 5 ว่าเป็นการแยกตัวประกอบของ 20

                การแยกตัวประกอบของจำนวนนับใด คือ ประโยคที่แสดงการเขียนจำนวนนับในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ ประโยค  28 = 2 x 2 x 7  แสดงการเขียน 28 ในการคูณของตัวประกอบเฉพาะเราเรียกประโยคนี่ว่า  การแยกตัวประกอบของ 28
ตัวอย่าง
  จงแยกตัวประกอบของ 225
วิธีทำ                      225 = 3 x 3 x 5 x 5
                               
การหาตัวคูณซึ่งเป็นตัวประกอบเฉพาะ  ทำได้ดังนี้
วิธีที่
1                    โดยการตั้งการ (หารสั้น)
                                จงแยกตัวประกอบของ 
360  โดยการตั้งหาร
                                               
2)360
                                                2)180
                                               
2)  90
                                                2)  45
                                                2)  15
                                                        5
ดังนั้น 360 = 2 x 2 x 2 x 3 x 3 x 5

ตัวหารร่วมมาก  หรือ ห..ม (Greatest  common  divisor: G.C.D)
                การหารร่วมมาก ที่จะกล่าวต่อไปนี้จะนำเสนอวิธีการหารเพียง
3 วิธีเท่านั้น  คือ การหาร ห..ม โดยวิธีการพิจารณาตัวประกอบ การหา ห..ม โดยการแยกตัวประกอบ  และการหา ห..ม โดยการตั้งหาร
(หารสั้น) เราจะยกตัวอย่างการหา ห
..ม โดยวิธีการพิจารณาตัวประกอบเท่านั้น
การหา ห..ม โดยวิธีการพิจารณาตัวประกอบ
           พิจารณาตัวประกอบของ 12 และ 18 มาเขียนแสดงความสัมพันธ์ใหม่ ดังนี้
ตัวประกอบของ
12 คือ 1,2,3, และ 4,6,12
ตัวประกอบของ 18 คือ 1,2,3, และ 6,9,18
ตัวประกอบร่วม( Common factor ) ของ 12 และ 18 ได้แก่ 1,2,3,6
4
1,2
9
12
3,6
18

ตัวประกอบร่วมของ 12 และ 18 ที่มากที่สุดได้แก่ 6
เรียกตัวประกอบร่วมที่มากที่สุดว่า  ตัวหารร่วมมาก
ดังนั้น 6 เป็นตัวหารร่วมมากของ 12 และ 18 หรือ 6 เป็น ห..ม ของ 12 และ 18
ตัวประกอบร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจำนวนนับนั้น เรียกว่า ตัวหารร่วมมาก (ห..ม)
สรุป   การหา ห..ม โดยวิธีการพิจารณาตัวประกอบ ทำได้โดยหาตัวประกอบร่วมของทุกจำนวนและ
พิจารณาตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด ห
..ม ของจำนวนนับคือ  ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด
ตัวอย่าง  จงหา  ห
..ม ของ 18 และ 48
วิธีทำ    ตัวประกอบของ
18 ได้แก่ 1,2,3,6,9 และ 18
                ตัวประกอบของ 48 ได้แก่ 1,2,3,4,6,8,12,16,24 และ 48
                ตัวประกอบร่วมของ 18 และ 48 ได้แก่ 1,2,3,6
                ตัวประกอบร่วมของ 18 และ 48 ที่มากที่สุดได้แก่ 6
ดังนั้น ห..ม ของ 18 และ 48 คือ 6

การคูณร่วมน้อย หรือ ค..น (Least  common  multiple: L.C.M)
                การหาตัวคูณร่วมน้อย ที่กล่าวต่อไปนี้จะนำเสนอวิธีการหาเพียง
3 วิธีเท่านั้น  คือการหา ค..น โดยวิธีการพิจารณาพหุคูณ  การหา ค..น โดยการแยกตัวประกอบและการหา 8..น โดยการแยกตัวประกอบและการหา ค..น  โดยการตั้งหาร( หารสั้น ) ในที่นี่จะยกตัวอย่างกรณีเดี๋ยว คือ
การหา ค
..น โดยวิธีการพิจารณาพหุคูณ
     ให้นักเรียนช่วยกันพิจารณา  ดังนี้
                พหุคูณของ
3 คือ 3,6,9,12,15,18,21,24,30,33,36,…
                พหุคูณของ 5 คือ 5,10,15,20,25,30,35,40,45,50,….
                พหุคูณร่วมของ 3 และ 5 ได้แก่ 15,30,45,….
                พหุคูณร่วมน้อยที่สุดของ 3 และ 5 ได้แก่ 15
                เรียกพหุคูณที่น้อยที่สุดว่า ตัวคูณร่วมน้อย
                ดังนั้น
15 เป็นตัวคูณร่วมน้อยของ 3 และ 15
                เขียนย่อๆว่า 15 เป็น ค..น ของ 3 และ 5
สรุป     การหา ค
..น โดยวิธีพิจารณาพหุคูณทำได้โดยหาจำนวนที่มีจำนวนที่กำหนดให้เป็นตัวประกอบ  แล้วพิจารณาจำนวนที่น้อยที่สุดที่มีจำนวนเหล่านั้นเป็นตัวประกอบ ค..น ของจำนวนนั้น  คือ จำนวนที่น้อยที่สุดที่มีจำนวนเหล่านั้นเป็นตัวประกอบ

ที่มา
:
       http://www.scribd.com/doc/29788317/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-1%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%
E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A7%
E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%9A
  วันที่ 19 สิงหาคม 2556

2 ความคิดเห็น:

  1. Lucky Club - Get up to £50 in Free Bets on UK Online
    Lucky Club. Live casino, sports betting & gambling, horse racing & many more! Register luckyclub.live here and bet on horse racing, football & more.

    ตอบลบ
  2. Play Blackjack & Roulette Sites - Casino Reports
    Blackjack & 검증 사이트 Roulette Sites · 실시간 스포츠 배팅 Best Casinos 생활 바카라 to Play Online Blackjack · 1. Ignition Casino – 샌즈 Excellent game choice 트리플 슬롯 · 2. Slots LV – Excellent live dealer

    ตอบลบ